ควรช่วยคนจนอย่างไร :ประกันรายได้ขั้นต่ำ หรือ เงินโอนแบบเจาะจง

ความยากจนเป็นปัญหาสำคัญของประเทศกำลังพัฒนาและของโลก เพราะความยากจนเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาคนและพัฒนาประเทศ สหประชาชาติจึงตั้งเป้าหมายกำจัดความยากจนแบบรุนแรงให้หมดไปภายในปี 2030 ซึ่งเป็นหนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) Read More

พัฒนาความรู้และทักษะอย่างไร ไม่ให้เทคโนโลยีแย่งงานคุณ

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ ทำให้เกิดกระแสความกังวลเกี่ยวกับการที่มนุษย์จะถูกเทคโนโลยีแย่งงาน รวมทั้งมีการคาดการณ์แนวโน้มอาชีพที่จะสูญหายไปในอนาคต อย่างไรก็ดี ยังมีอีกมุมมองที่มองว่า ยิ่งเครื่องจักรมีอิทธิพลมากขึ้น มนุษย์ก็ยิ่งสำคัญมากขึ้นเช่นกัน Read More

การพัฒนาเมืองสะอาด : บทเรียนจากสต็อกโฮล์ม

ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM 2.5 เกินค่ามาตรฐาน เป็นประเด็นที่สร้างความวิตกกังวลให้กับคนกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นอย่างมาก ทำให้เกิดการกว้านซื้อหน้ากากอนามัยจนขาดตลาด และการแพร่กระจายของข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้อย่างกว้างขวาง Read More

แนวโน้มหนังสือของไทยในอนาคต

เมื่อ 20 ปีก่อน เรายังถ่ายรูปจากกล้องและฟิล์ม ต้องเอาฟิล์มไปล้างเพื่อดูรูป แต่ปัจจุบันเราใช้สมาร์ทโฟนถ่ายภาพสวย ๆ ได้ง่าย ๆ และเผยแพร่ภาพนั้นผ่านออนไลน์ได้ทันที

…ยุคฟิล์มถ่ายภาพ ในวันนั้น แทบจะ ‘หายไป’ แล้วในวันนี้ เพราะถูกแทนที่ด้วยยุคดิจิตอล Read More

ปฏิรูปการเมืองไทยเพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ

เมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา นิตยสาร Scientific American ซึ่งเป็นนิตยสารยอดนิยมทางด้านวิทยาศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา ได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำในแง่มุมต่างๆ เอาไว้อย่างน่าสนใจ โดยเฉพาะบทความหนึ่งซึ่งเขียนโดยโจเซฟ สติกลิตซ์ นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล ที่วิเคราะห์สาเหตุของความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหานี้ไว้อย่างชัดเจน Read More

ยุทธศาสตร์ 20 ปีในการพัฒนาเมืองโคราช

เมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ผมมีโอกาสเดินทางไปจังหวัดนครราชสีมา เพื่อบรรยายเรื่อง “ยุทธศาสตร์ 20 ปี ในการพัฒนาเมืองโคราช” ผมพบว่า เมืองโคราชในปัจจุบันมีการหลั่งไหลของการลงทุนเข้าไปอย่างคึกคัก ทั้งการลงทุนของภาครัฐในโครงการขนาดใหญ่ และการลงทุนของภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็น ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ โรงแรมแบรนด์ดัง โครงการอสังหาริมทรัพย์ และโรงงานอุตสาหกรรม Read More

ฮาร์วาร์ดส่งเสริมการวิจัยในพื้นที่ออลสตัน

การให้ความสำคัญกับการวิจัยเป็นสิ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับมหาวิทยาลัยยุคสมัยปัจจุบันและอนาคตตามที่ผมเคยนำเสนอความคิดเอาไว้ในเวทีทางการศึกษาว่า มหาวิทยาลัยต้องทำภารกิจทั้งทางด้านการสอนและการวิจัย มหาวิทยาลัยที่ทำภารกิจทางด้านการสอนเพียงอย่างเดียวไม่มีจริง มีแต่มหาวิทยาลัยที่มีทั้งการสอนและการวิจัย[1] ด้วยว่าทั้ง 2 มีส่วนเกื้อหนุนกัน การวิจัยจะช่วยให้เนื้อหาการเรียนการสอนมีความสดใหม่และลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น Read More

ฮาร์วาร์ดพัฒนางานเชื่อมต่อด้านพันธุศาสตร์กับฐานข้อมูลขนาดใหญ่

ความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีผลต่อการบริหารจัดการฐานข้อมูลที่มีความเจริญก้าวหน้าไปด้วย ทั้งด้านการผลิต การเข้าถึง การจัดเก็บ และการกระจายข้อมูล ซึ่งสามารถทำได้อย่างสะดวก รวดเร็ว เกิดเป็นข้อมูลขนาดใหญ่จำนวนมหาศาลที่รู้จักกันว่า big data ซึ่งข้อมูลจำนวนมหาศาลเหล่านี้หากรู้จักนำมาใช้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง Read More

ถอดบทเรียนการสร้างชาติของอิตาลี

ในช่วงต้นเดือนธันวาคมที่ผ่านมา ผมมีโอกาสได้นำคณะนักศึกษาหลักสูตรนักบริหารระดับสูงเพื่อการสร้างชาติ (นสช.) รุ่น 6 ไปศึกษาดูงานที่ประเทศมอลต้าและอิตาลี Read More

ผมเสนอ AIMMI Model: ผลวิจัยฮาร์วาร์ดชี้ “รูปแบบการให้รางวัลต่างกันส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้รับต่างกัน”

ผมเคยนำเสนอความคิด AIMMI Model เอาไว้ในหลายเวทีและเคยเขียนเป็นบทความก่อนหน้านี้ ประกอบด้วย

  • A คือ Aspiration เป้าทะยานใจ
  • I คือ Inspiration แรงบันดาลใจ
  • M ตัวแรกคือ Motivation แรงจูงใจ
  • M ตัวที่สองคือ Motive มูลเหตุแห่งใจ และ
  • I ตัวสุดท้ายคือ Incentive สิ่งประสงค์ล่อใจ

Read More