ยุทธศาสตร์การเกษตรเพื่อการสร้างชาติ

แม้ไทยจะยังเป็นผู้ส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารสำคัญของโลกหลายชนิด แต่สัดส่วนภาคเกษตรต่อเศรษฐกิจมีแนวโน้มลดลงและผันผวนมากขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการขยายตัวอย่างรวดเร็วของภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ อีกทั้งแรงงานในภาคเกษตรมีแนวโน้มแก่ชราลงเรื่อย ๆ ทำให้ช่วงหลายปีที่ผ่านมาเกษตรกรไทยต้องเผชิญความท้าทายที่ไม่เคยเผชิญมาก่อน

Read More

แนวทางการพัฒนาทุนมนุษย์สำหรับประเทศไทย (2)

จากบทความที่แล้ว ผมได้นำเสนอแนวทางการพัฒนาทุนมนุษย์ไว้ 3 ประการ คือ การพัฒนาสุขสภาพ กาย ใจ จิต การพัฒนากระบวนคิด และการพัฒนาความรู้ ปัญญา ความดี ในบทความนี้ ผมจะนำเสนออีก 3 ประการที่สำคัญที่จำเป็นต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความเจริญของประเทศในอนาคต ดังต่อไปนี้ Read More

แนวทางการพัฒนาทุนมนุษย์สำหรับประเทศไทย ตอน 1

ประเทศไทยกำลังประสบปัญหาหลายประการในปัจจุบัน เช่น การสูญเสียความสามารถในการแข่งขัน การติดกับดักรายได้ปานกลาง ผลิตภาพแรงงานต่ำ ประกอบกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ ทำให้เกิดการขาดแคลนประชากรวัยแรงงาน เป็นต้น Read More

ข้อเสนอการส่งเสริม Unicorns ในประเทศไทย

บทความที่แล้ว ผมได้กล่าวถึงเนื้อหาเกี่ยวกับนิยามและลักษณะของ Unicorn ที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญต่อการสร้างชาติไปแล้ว ในบทความนี้ผมจะนำเสนอสถานะของ Unicorn และข้อเสนอแนะในการส่งเสริมให้เกิด Unicorn ในประเทศไทยได้ Read More

วิพากษ์แนวคิด Work-Life Balance

หลายคนมองว่า “งาน” กับ “ชีวิต” เป็นเรื่องที่แยกออกจากกันโดยสิ้นเชิง และพยายามหาวิธีการใช้ชีวิตเพื่อแบ่งเวลาให้เป็นสัดส่วน สมดุล ลงตัวมากที่สุด โดยให้เหตุผลว่าหากเกิดความไม่สมดุลระหว่าง “งาน” และ “ชีวิต” ย่อมเกิดผลกระทบต่อทั้งการทำงาน และ ชีวิตส่วนตัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น อาการหมดไฟ ปัญหาสุขภาพ ปัญหาเพื่อนร่วมงาน ปัญหาครอบครัว รวมทั้งพลาดการใช้เวลากับครอบครัว คนรัก เป็นต้น การสร้างสมดุลในชีวิตและการทำงานได้จึงถูกมองเป็นความสำเร็จ Read More

Work – Life Integration: การบูรณาการงานและชีวิตให้มีความสุข

การทำงานเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์ทุกคน เมื่อเราเติบโตพ้นวัยเด็ก เราจะเข้าสู่ “วัยทำงาน” ซึ่งเป็นช่วงวัยที่ยาวนานที่สุด อาจจะมากกว่าครึ่งชีวิต ในการทำงานถ้าทำงานเพื่อเงิน โดยที่ไม่เห็นคุณค่าหรือไม่ได้ชอบงานที่ทำ ย่อมไม่มีความสุขในการทำงาน Read More

ปรากฏการณ์ 7 วันก่อนเลือกตั้งสะท้อนภาพประชาธิปไตยแบบไทยไทย

การเลือกตั้ง ส.ส. ที่จะถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ เราคงเห็นว่าเกิดการตื่นตัวครั้งยิ่งใหญ่ของประชาชนคนไทยทั้งประเทศ จากการสำรวจคาดว่าจะมีคนออกมาใช้สิทธิ์เลือกตั้งสูงถึงร้อยละ 80 หรือประมาณ 42 ล้านคน Read More

“ทางตรงสุดท้าย” 7 วันก่อนเลือกตั้ง 2566กระแส ต้องไม่แพ้ กระสุน!!

5/5/2566 วิเคราะห์จำนวน สส จากผลโพล : ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโสมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา และประธานสถาบันการสร้างชาติ วิเคราะห์แนวโน้มจำนวน สส ทั้งเขตและบัญชีรายชื่อ
.
‘ทางตรงสุดท้าย’ 7 วันก่อนเลือกตั้ง 2566
กระแส ต้องไม่แพ้ กระสุน!!! Read More

ภาพอนาคต 4 ฉากทัศน์ แนวทางจัดตั้ง “รัฐบาลใหม่”

“รัฐบาลชุดใหม่”จะมีหน้าตาเป็นอย่างไร พรรคใดจะได้เสียงข้างมากเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล คำถามเหล่านี้อยู่ในความสนใจของคนไทย ติดตามการวิเคราะห์ โดย “ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์” นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด Read More

เลือกตั้ง 66 : “แลนด์สไลด์”ถล่มทลาย…เป็นไปได้จริงหรือ ?

เหลือเวลาไม่ถึงเดือน ก็จะเป็นวันเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 ในช่วงนี้พรรคการเมืองต่างลงพื้นที่หาเสียง งัดกลยุทธ์ต่าง ๆ ออกมาใช้แบบจัดเต็ม เพื่อดึงดูดเสียงของประชาชนมาที่พรรคของตัวเองให้ได้มากที่สุด ติดตามได้ในโพลิทิกส์พลัส โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ Read More