แนวทางการพัฒนาทุนมนุษย์สำหรับประเทศไทย ตอน 1

ประเทศไทยกำลังประสบปัญหาหลายประการในปัจจุบัน เช่น การสูญเสียความสามารถในการแข่งขัน การติดกับดักรายได้ปานกลาง ผลิตภาพแรงงานต่ำ ประกอบกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ ทำให้เกิดการขาดแคลนประชากรวัยแรงงาน เป็นต้น Read More

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในยุคหลังโควิด (ตอนที่ 2): ข้อเสนอแนะในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

สาเหตุความล้มเหลวในการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน โดยรวมแล้วเกิดจากการแนวทางการพัฒนาที่ขัดแย้งกับหลักการทางเศรษฐศาสตร์ เช่น ขาดความประหยัดจากขนาด ขาดความหลากหลายของกิจกรรมเศรษฐกิจ ขาดการต่อยอดบนฐานความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ รวมทั้งขาดบูรณาการในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เป็นต้น
. Read More

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในยุคหลังโควิด (1): ข้อจำกัดในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจของประเทศ ส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากความเข้มแข็งของหน่วยธุรกิจในระดับต่าง ๆ ดังนั้นการสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการในระดับท้องถิ่น เพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เจริญก้าวหน้าจึงจำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
. Read More

มหาวิทยาลัยไทยจะเป็นอย่างไร หลังพ้นวิกฤตไวรัสโควิดระบาด

ขอเสนอแนวทางการปรับตัวของ มหาวิทยาลัย ที่เผชิญความท้าทายหลายประการ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยาวนาน บางอย่างเป็นความท้าทายใหม่ที่ต้องปรับตัวให้พร้อมรับมือสำหรับอนาคต ที่ต้องไม่ลืมพื้นฐานการเป็นแหล่งบ่มเพาะอารยธรรมสนับสนุนการพัฒนาประเทศ
. Read More

การส่งเสริมความร่วมมือไทย-อินเดียเพื่อการสร้างชาติ

อินเดียเป็นประเทศหนึ่งที่มีความน่าสนใจ ผมมีโอกาสเดินทางไปเยือนประเทศอินเดียหลายสิบครั้ง ทั้งจากการได้รับเชิญไปบรรยาย และด้วยความสนใจอินเดียในฐานะที่เป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศในโลกที่มีอารยธรรมเก่าแก่รุ่งเรืองยืนยาวมาจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางเศรษฐกิจและสังคมสูง หากใครได้ไปเยือนอินเดียจึงมักเห็นทั้งการทำเกษตรกรรมแบบโบราณ ไปจนถึงการทำเกษตรกรรมสมัยใหม่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน นอกจากนั้นอินเดียยังเป็นผู้นำอุตสาหกรรมอันดับต้น ๆ ของโลกทั้งการผลิตสินค้าหัตถกรรม เครื่องประดับโบราณ ไปจนถึงการเป็นแหล่งผลิตซอฟท์แวร์และอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
Read More

อุตสาหกรรมใดเป็นจุดแกร่งประเทศไทย

รัฐบาลไทยมีความพยายามกำหนดอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของประเทศมาโดยตลอด ตัวอย่างที่ชัดเจนคือ ในช่วงปี พ.ศ. 2546 รัฐบาลในเวลานั้นได้เชิญศาสตราจารย์ ไมเคิล ยูจีน พอร์เตอร์ นักวิชาการด้านบริหารธุรกิจชื่อดังแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มาเป็นที่ปรึกษาใน “โครงการศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถ ด้านการแข่งขันของประเทศไทย”
.

Read More

วิสัยทัศน์ประเทศไทย ตั้งเป้าเป็น Blue Zone แห่งที่ 6 ของโลก

ก่อนการระบาดของ COVID-19 สถาบันการสร้างชาติ ได้มีโอกาสนำนักศึกษาในหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงเพื่อการสร้างชาติ (นสช.) ไปดูงานในต่างประเทศที่เป็นต้นแบบที่ดีที่สุดของโลกในเรื่องต่างๆ
. Read More

การสร้างคุณภาพชีวิตเมืองเพื่อการสร้างชาติ ด้วยโมเดลเมืองน่าอยู่ 12 มิติ: Dr.Dan Can Do’s Livable City Model

“ในฐานะผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. ปี 2551 และสั่งสมแนวคิดยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาเมืองมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ผู้เขียนขอเสนอแนวคิด ในการร่วมสร้างคุณภาพชีวิต การสร้างเมือง และสร้างขาติ ด้วยโมเดลเมืองน่าอยู่ 12 มิติ: Dr.Dan Can Do’s Livable City Model
.

Read More

ยุทธศาสตร์ฉะเชิงเทราสร้างชาติ : เมืองอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และการท่องเที่ยวด้านอาหารเชิงสุขสภาพ

นับตั้งแต่ พ.ศ.1500 จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นเส้นทางการค้าสำคัญของอาณาจักรขอมซึ่งเป็นมหาอำนาจโบราณในดินแดนแถบนี้ ก่อนที่สมัยอยุธยาจะกลายเป็นแหล่งผลิตและรวบรวมเสบียงรวมถึงกำลังพลในช่วงสงคราม กระทั่งวิวัฒนาการกลายเป็นเมืองหน้าด่านและศูนย์กลางอำนาจรัฐอีกแห่งในสมัยรัชกาลที่ 3 และปัจจุบันฉะเชิงเทราได้พัฒนาเป็นแหล่งผลิตไก่ไข่ ไก่เนื้อ สุกร ปลาน้ำจืด รวมถึงมะม่วงน้ำดอกไม้ ได้ในปริมาณและคุณภาพสูงติด 3 อันดับแรกของประเทศ ผลผลิตมีคุณภาพอยู่ในระดับที่สามารถส่งออกไปยังต่างประเทศได้

Read More

Deep Blue Zone: ประเทศไทย พื้นที่คนอายุ 123 ปี แห่งแรกในโลก

ขอเสนอแนวคิดในการพัฒนาประเทศไทยเป็น Deep Blue Zone ซึ่งเป็นยุทธวิธีสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศให้บรรลุการเป็นเมืองหลวงอภิบาลคนชราโลก
.
ประเด็นผู้สูงอายุนับเป็นความท้าทายสำหรับประเทศไทยในปัจจุบันและในอนาคต เนื่องจากประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) หรือมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศแล้ว และกำลังจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-aged society) หรือมีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า Read More