การทำงานมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก อาจกล่าวได้ว่าการทำงานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่ปฏิบัติมากกว่ากิจกรรมใด ๆ เป็นกิจกรรมที่ใช้เวลาในชีวิตอย่างน้อย 2 ใน 3 ของชีวิต และยังมีความสำคัญในด้านการดำรงชีวิตปัจจัย 4 (อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค) Read More
Category: Article
‘Wellness Economy’ กับโอกาสไทย พลิกโฉมประเทศด้วย ‘เศรษฐกิจสุขสภาพ’
ศ.ดร. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และประธานสถาบันการสร้างชาติ โลกหลังการระบาดของโควิด-19 รวมทั้งการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของหลายประเทศทั่วโลก โดยในปี 2593 ประชากรโลกกว่า 21.5% หรือประมาณ 2 พันล้านคน จะเป็นคนสูงอายุนั้น
‘นักวิชาการ’ชี้นโยบายพรรคการเมืองไทย ยังก้าวไม่พ้น ‘ประชานิยม’
ศ.ดร เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และประธานสถาบันการสร้างชาติ กล่าวถึง นโยบายหาเสียงของพรรคการเมืองต่าง ๆ ที่ได้ประกาศออกมาในการหาเสียงในปัจจุบันว่าพรรคการเมืองต่าง ๆ เฉพาะพรรคการเมืองที่เป็นตัวเต็งที่จะได้รับการเลือกตั้งเป็นรัฐบาล หรือเป็นพรรคร่วมรัฐบาลในขณะนี้เห็นว่าในภาพรวมนโยบายส่วนใหญ่ยังเป็นนโยบายประชานิยม Read More
การพัฒนาดัชนีชี้วัดคุณภาพผู้สมัครรับเลือกตั้ง (Political Candidate Index – PCI)
ประเทศไทยกำลังมาถึงจุดเปลี่ยนสำคัญอีกครั้งหนึ่ง คือ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ซึ่งผมคาดการณ์ว่าเป็นปลายเดือนเมษายน 2566 นี้ และในเวลานี้เราเริ่มเห็นการออกมาเปิดตัวนโยบายและผู้สมัครของพรรคต่าง ๆ ที่เริ่มลงพื้นที่พบปะประชาชน หาเสียงก่อนการเลือกตั้ง Read More
การสร้างทายาท (successor) เพื่อสร้างองค์กรยั่งยืน
การสร้างทายาทเป็นปัจจัยความสำเร็จที่ยั่งยืนขององค์กร ซึ่งหลายองค์กรประสบความสำเร็จ แต่ประสบปัญหาไม่สามารถยืนระยะอยู่ได้ยาวนาน เนื่องจากปัจจัยสำคัญประการหนึ่งคือ การขาดทายาทรับช่วงต่อ โดยมีคำกล่าวของชาวจีนที่เล่าต่อ ๆ กันมาว่า “ไม่เกิน 3 ชั่วคน จะเกิดการเปลี่ยนแปลง” หมายความว่า Read More
วิสัยทัศน์ โอกาส และการต่อยอดของสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยสู่ธุรกิจ Wellness โลก
“สมุนไพรไทย” เป็นภูมิปัญญาและทรัพยากรที่มีเอกลักษณ์ สะท้อนถึงวัฒนธรรมไทย และยังเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตที่อยู่คู่สังคมไทยมาโดยตลอด จะเห็นได้จากการนำสมุนไพรมาประกอบในอาหาร เป็นยารักษาโรค ใช้ในการบำบัดดูแลและฟื้นฟูสุขสภาพ รวมถึงสมุนไพรที่อยู่ในตำรับยาของแพทย์แผนไทยด้วยเช่นกัน ภูมิปัญญาไทยเหล่านี้ได้รับการสั่งสม สืบทอด และพัฒนามาอย่างยาวนาน
. Read More
การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในยุคหลังโควิด (ตอนที่ 2): ข้อเสนอแนะในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
สาเหตุความล้มเหลวในการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน โดยรวมแล้วเกิดจากการแนวทางการพัฒนาที่ขัดแย้งกับหลักการทางเศรษฐศาสตร์ เช่น ขาดความประหยัดจากขนาด ขาดความหลากหลายของกิจกรรมเศรษฐกิจ ขาดการต่อยอดบนฐานความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ รวมทั้งขาดบูรณาการในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เป็นต้น
. Read More
การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในยุคหลังโควิด (1): ข้อจำกัดในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจของประเทศ ส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากความเข้มแข็งของหน่วยธุรกิจในระดับต่าง ๆ ดังนั้นการสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการในระดับท้องถิ่น เพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เจริญก้าวหน้าจึงจำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
. Read More
แนวโน้มของอิทธิพลอเมริกาในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยไทยจะเป็นอย่างไร หลังพ้นวิกฤตไวรัสโควิดระบาด
ขอเสนอแนวทางการปรับตัวของ มหาวิทยาลัย ที่เผชิญความท้าทายหลายประการ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยาวนาน บางอย่างเป็นความท้าทายใหม่ที่ต้องปรับตัวให้พร้อมรับมือสำหรับอนาคต ที่ต้องไม่ลืมพื้นฐานการเป็นแหล่งบ่มเพาะอารยธรรมสนับสนุนการพัฒนาประเทศ
. Read More