ปัจจุบัน ทั่วโลกกำลังเผชิญกับ Digital Disruption หรือการทำลายล้างสิ่งเก่า ๆ ออกไปด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เนื่องจากเทคโนโลยีด้านดิจิทัลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รุนแรง และกว้างขวาง ส่งผลกระทบไปทุกแวดวง ทั้งการค้า การทำธุรกิจ การผลิต การใช้ชีวิต การใช้จ่าย พักผ่อน การศึกษา ฯลฯ Read More
Category: Article
คนอเมริกันต้องการการดูแลด้านจิตวิญญาณ : กรณีค้นพบของวิทยาลัยดิวินิตี้ฮาร์วาร์ด
ความเจริญก้าวหน้าของการอยู่ร่วมกันเป็นสังคมของมนุษย์ แม้จะส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการช่วยยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมิติทางด้านกายภาพ ความอยู่ดีกินดี เช่น การมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และการมีความมั่นคงในอาชีพหน้าที่การงาน ฯลฯ Read More
ตัวอย่างการสร้าง “คนดี” : กรณีวิทยาลัยกฎหมายฮาร์วาร์ด
โลกาภิวัตน์ : ฮาร์วาร์ดสร้างความร่วมมือกับกระทรวงอุดมศึกษาคิวบา
โลกกำลังเผชิญกับกระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) เข้มข้นที่เชื่อมโยงโลกทั้งโลกเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งในประเด็นดังกล่าวนี้ผมเคยนำเสนอความคิด การศึกษาบนฐานโลกาภิวัตน์ (Globalization-based Education) หรือการเชื่อมโยงโลกทั้งโลกเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการศึกษาเอาไว้ในหลายเวที Read More
Suggestions on Thai Motorway Development
Suggestions on Thai Motorway Development[1]
Recently, I was honored by the Inter-City Motorways Division, Department of Highways to be a keynote speaker for a seminar held on the topic of “Co-thinking & Co-planning for the Future of Thai Motorways”. This event was convened under a project to identify strategies for the development of motor expressways connecting different cities of Thailand. Read More
ฮาร์วาร์ดพัฒนากรอบคิดการประเมินเพื่อการลงทุนที่ยั่งยืนที่นำไปปฏิบัติได้
การจัดการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาวิทยาลัยควรมีส่วนพัฒนาหรือแก้ปัญหาสังคมอย่างเป็นรูปธรรมบนพื้นฐานการเป็นองค์กรแห่งความรู้และองค์กรวิจัยของตนเอง โดยการพัฒนาหรือแก้ปัญหาดังกล่าวนี้ควรให้มีความครอบคลุมสมดุลครบถ้วนทั้ง 3 ภาคกิจ ประกอบด้วย รัฐกิจ ธุรกิจ และประชากิจ (ประชาสังคม) มีมิติความเชื่อมโยงและมีอิทธิพลสร้างผลกระทบอย่างสำคัญต่อเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ของประเทศตามที่ผมเคยนำเสนอความคิดเอาไว้ในหลายเวที เช่น Read More
กองทุนนวัตกรรมทางการบริหารของอธิการบดี : กรณีการจัดการศึกษาฮาร์วาร์ด
ประเทศไทยเรากำลังเตรียมพร้อมก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมความรู้ (Knowledge Society) ที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ล่าสุดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564 โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระบุชัดเจนถึงการนำยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม มาใช้สำหรับเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศ Read More
แนวโน้มของการเงินการธนาคารในศตวรรษที่ 21 (1)
ปัจจุบัน ระบบการเงินการธนาคาร กำลังเข้าสู่ยุคเปลี่ยนผ่านครั้งสำคัญ การพัฒนาทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางการเงิน (Fin Tech) จะสร้างผลกระทบอย่างรุนแรง ต่อระบบการเงินการธนาคารของไทยและของโลก และทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิถีการดำเนินชีวิต
ผมได้สรุปแนวโน้มไว้ 6 ประการ แต่ในบทความนี้จะขอนำเสนอ 2 ประการแรก ดังต่อไปนี้ Read More
เรียนรู้ 365/24/120 ตลอดอายุขัย : ตัวอย่างการศึกษาออนไลน์ฮาร์วาร์ด
ผมเคยนำเสนอความคิดสูตรการเรียนรู้ 365/24/120 หรือ การเรียนรู้ตลอดอายุขัย1 เอาไว้ในหลายเวทีว่า เป็นการเรียนรู้ทุกวัน ทุกชั่วโมง ตลอดช่วงชีวิต 120 ปีที่สามารถไปถึง บูรณาการเชื่อมโยงกันทั้งระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ทำให้การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ ทุกที่ ทุกเวลา โดยไม่ถูกจำกัดอยู่เฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น แต่เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต Read More
บูรณาการศาสตร์แนวใหม่ 3 ภาคกิจ : สะท้อนคิดกรณีการจัดการศึกษาฮาร์วาร์ด
ผมเคยนำเสนอความคิดเกี่ยวกับโมเดล 8C กับการบูรณาการศาสตร์ หรือ Discipline ต่างๆเอาไว้ในหลายเวที อันเป็นลักษณะสำคัญประการหนึ่งของมหาศุภลัย (Integration : Araya University) ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นด้านการบูรณาการสู่การสร้างผู้เรียน เป็นลักษณะมหาวิทยาลัยยุคสุดท้ายตามการแบ่งมหาวิทยาลัยออกเป็น 7 ยุคของผม[1] เช่น ภาคกิจบูรณาการสร้างผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะกว้างครบถ้วนสามารถประยุกต์สู่รัฐกิจ ธุรกิจ และประชากิจ (ประชาสังคม) ตามที่ผมเคยนำเสนอเอาไว้ในหลายเวทีและเคยเขียนเป็นบทความ Read More