2050 ฮาร์วาร์ดตั้งเป้าเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นศูนย์

การจัดการศึกษาทุกระดับควรมีบทบาทสำคัญในการมีส่วนร่วมจัดการกับประเด็นปัญหาสังคมอย่างเป็นรูปธรรมบนพื้นฐานภารกิจทางการศึกษา เช่น การสร้างคน การสร้างองค์ความรู้ เป็นต้น Read More

หลักสูตรความยั่งยืนกำลังเติบโตที่ฮาร์วาร์ด

ปัจจุบันเราจะเห็นประเด็นสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนกำลังทวีความสำคัญมากยิ่งขึ้น อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของโลกที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ เช่น Read More

โครงการความเห็นของสาธารณชน : กรณีสำรวจความเห็นนักศึกษา ป. ตรี ฮาร์วาร์ด

ผมเคยนำเสนอความคิดเอาไว้ในหนังสือ แหกคุกทางปัญญา : สะท้อนคิดฝ่าวิกฤตการศึกษาไทย ว่า ควรมีการปรับเนื้อหาหลักสูตรให้มีความสมดุลในด้านต่าง ๆ เช่น มีความสมดุลด้านการสอนภาคปฏิบัติกับภาคทฤษฎี เป็นต้น และในการศึกษาระดับอุดมศึกษาควรเป็นการศึกษาเพื่อเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งปัญญาของสังคม ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นการค้นคว้าด้วยตนเอง ส่งเสริมบทบาทนักศึกษาให้มีกิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มขึ้น อันจะเป็นการส่งเสริมให้การศึกษาเป็นเรือนเพาะชำทางปัญญาอย่างแท้จริง Read More

คนอเมริกันต้องการการดูแลด้านจิตวิญญาณ : กรณีค้นพบของวิทยาลัยดิวินิตี้ฮาร์วาร์ด

ความเจริญก้าวหน้าของการอยู่ร่วมกันเป็นสังคมของมนุษย์ แม้จะส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการช่วยยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมิติทางด้านกายภาพ ความอยู่ดีกินดี เช่น การมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และการมีความมั่นคงในอาชีพหน้าที่การงาน ฯลฯ Read More

ตัวอย่างการสร้าง “คนดี” : กรณีวิทยาลัยกฎหมายฮาร์วาร์ด

ผมเคยนิยาม “คนดี” เอาไว้ในหลายเวที

ทั้งเคยเขียนเป็นหนังสือชื่อ “คนดีสร้างได้ : โมเดลบริบูรณ์ธรรม”

 

และเขียนเป็นข้อคิดคำคมผ่านสื่อต่าง ๆ ว่า “คนดีคือ คนที่เห็นแก่ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน”

ใครก็ตามที่มีเนื้อแท้ภายในเห็นแก่ส่วนรวมมากกว่าส่วนตนนับเป็นคนดีในความคิดของผม

Read More

โลกาภิวัตน์ : ฮาร์วาร์ดสร้างความร่วมมือกับกระทรวงอุดมศึกษาคิวบา

โลกกำลังเผชิญกับกระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) เข้มข้นที่เชื่อมโยงโลกทั้งโลกเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งในประเด็นดังกล่าวนี้ผมเคยนำเสนอความคิด การศึกษาบนฐานโลกาภิวัตน์ (Globalization-based Education) หรือการเชื่อมโยงโลกทั้งโลกเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการศึกษาเอาไว้ในหลายเวที Read More

ฮาร์วาร์ดพัฒนากรอบคิดการประเมินเพื่อการลงทุนที่ยั่งยืนที่นำไปปฏิบัติได้

การจัดการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาวิทยาลัยควรมีส่วนพัฒนาหรือแก้ปัญหาสังคมอย่างเป็นรูปธรรมบนพื้นฐานการเป็นองค์กรแห่งความรู้และองค์กรวิจัยของตนเอง โดยการพัฒนาหรือแก้ปัญหาดังกล่าวนี้ควรให้มีความครอบคลุมสมดุลครบถ้วนทั้ง 3 ภาคกิจ ประกอบด้วย รัฐกิจ ธุรกิจ และประชากิจ (ประชาสังคม) มีมิติความเชื่อมโยงและมีอิทธิพลสร้างผลกระทบอย่างสำคัญต่อเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ของประเทศตามที่ผมเคยนำเสนอความคิดเอาไว้ในหลายเวที เช่น Read More

กองทุนนวัตกรรมทางการบริหารของอธิการบดี : กรณีการจัดการศึกษาฮาร์วาร์ด

ประเทศไทยเรากำลังเตรียมพร้อมก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมความรู้ (Knowledge Society) ที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ล่าสุดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564 โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระบุชัดเจนถึงการนำยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม มาใช้สำหรับเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศ Read More

เรียนรู้ 365/24/120 ตลอดอายุขัย : ตัวอย่างการศึกษาออนไลน์ฮาร์วาร์ด

ผมเคยนำเสนอความคิดสูตรการเรียนรู้ 365/24/120 หรือ การเรียนรู้ตลอดอายุขัย1 เอาไว้ในหลายเวทีว่า เป็นการเรียนรู้ทุกวัน ทุกชั่วโมง ตลอดช่วงชีวิต 120 ปีที่สามารถไปถึง บูรณาการเชื่อมโยงกันทั้งระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ทำให้การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ ทุกที่ ทุกเวลา โดยไม่ถูกจำกัดอยู่เฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น แต่เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต Read More

บูรณาการศาสตร์แนวใหม่ 3 ภาคกิจ : สะท้อนคิดกรณีการจัดการศึกษาฮาร์วาร์ด

ผมเคยนำเสนอความคิดเกี่ยวกับโมเดล 8C กับการบูรณาการศาสตร์ หรือ Discipline ต่างๆเอาไว้ในหลายเวที อันเป็นลักษณะสำคัญประการหนึ่งของมหาศุภลัย (Integration : Araya University) ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นด้านการบูรณาการสู่การสร้างผู้เรียน เป็นลักษณะมหาวิทยาลัยยุคสุดท้ายตามการแบ่งมหาวิทยาลัยออกเป็น 7 ยุคของผม[1] เช่น ภาคกิจบูรณาการสร้างผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะกว้างครบถ้วนสามารถประยุกต์สู่รัฐกิจ ธุรกิจ และประชากิจ (ประชาสังคม) ตามที่ผมเคยนำเสนอเอาไว้ในหลายเวทีและเคยเขียนเป็นบทความ Read More