นวัตกรรมยุทธศาสตร์คุณธรรมเพื่อการสร้างชาติ (Morality Innovative Strategies for Nation-Building)

คอร์รัปชั่นเป็นตัวชี้วัดด้านหนึ่งของการขาดคุณธรรมในสังคมไทย จากการสำรวจสถานการณ์คุณธรรมของสังคมไทย โดยศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) ร่วมกับ ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” ซึ่งได้ถามถึงปัญหาวิกฤตทางคุณธรรมที่มีความรุนแรงในสังคมไทย ผู้ตอบแบบสอบถามมองว่า ประเด็นที่วิกฤตมากที่สุด คือ ปัญหาความไม่ซื่อสัตย์สุจริต การทุจริตคอร์รัปชั่น รองลงมา คือ ปัญหาขาดความสามัคคีและความขัดแย้งในสังคม และอันดับสาม คือ ปัญหาขาดจิตสำนึกสาธารณะ ขาดความรับผิดชอบต่อสังคม และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าส่วนรวม

Read More

การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ Trumponomics

“Trumponomics” หรือแนวนโยบายเศรษฐกิจ ภายใต้การบริหารประเทศ ของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา โดนัลด์ ทรัมป์
 เป็นคำที่หลายท่านคงเคยได้ยินกันมาบ้างแล้ว ซึ่งได้สร้างความกังวลใจอย่างมากให้กับหลายฝ่าย ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับภูมิภาคเอเชีย รวมถึงประเทศไทย
Read More

หลักการและหลักปฏิบัติเพื่อพัฒนากรุงเทพฯป็นมหานครของเอเชีย

จากคำถามที่ว่า กรุงเทพและปริมณฑลควรจะเป็นมหานครของเอเชียในมิติใด? ผมได้ใช้ “ทฤษฎีหลักหมุด” ที่ผมคิดขึ้นเพื่อตอบคำถามดังกล่าว ทฤษฎีนี้ทำให้เราสามารถตอบคำถามโดยพิจารณาตั้งแต่หลักปรัชญาที่เป็นนามธรรม หลักคิด หลักวิชา หลักการ ไปจนถึง หลักปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมอย่างสอดคล้องกันตลอดทาง

Read More

ประโยชน์ของการที่กรุงเทพควรจะเป็นมหานครของเอเชียในบางมิติ

ในการตอบคำถามนี้ ผมคิดว่าเราควรทำเข้าใจเสียก่อนว่า หากปราศจากนามธรรมและรูปธรรม(ว่าจะเป็นมหานครอะไร?) การพัฒนาจะไร้ทิศทาง เพราะนามธรรมที่ไม่มีรูปธรรม จะขาดความกระจ่างแจ้ง ไม่สามารถปฏิบัติให้เห็นได้ แต่รูปธรรมที่ไม่มีนามธรรม จะทำให้การปฏิบัติไม่ตอบโจทย์ที่แท้จริง ขาดความยืดหยุ่นในการปฏิบัติ หรืออาจมีการปฏิบัติมีความขัดแย้งกันเอง ดังนั้นการจะปฏิบัติสิ่งใดควรเริ่มจากหลักปรัชญาก่อน ถ้าหลักปรัชญาชัดเจน อย่างอื่นที่ตามมาจะมีความชัดเจนขึ้น เกิดการไหลไปที่หลักคิด หลักวิชา สู่หลักการ และหลักปฏิบัติในที่สุด ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ผมคิดและขอเรียกว่า “ทฤษฎีหลักหมุด” กล่าวคือ การจะคิดภาคปฏิบัติได้ดี ควรเริ่มจากหลักปรัชญา  หลักคิด  หลักวิชา  หลักการ  หลักปฏิบัติ โดยบทความนี้จะนำเสนอเพียง 3 หลักแรกก่อน ดังต่อไปนี้

Read More

?กฎ 99-1 กับความเหลื่อมล้ำ?

เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2559 ผมได้มีโอกาสบรรยายพิเศษในการประชุมสภาปัญญาสมาพันธ์เรื่อง “กฎ 99-1 กับความเหลื่อมล้ำ” ซึ่งมีการถ่ายทอดผ่านทาง Live Facebook ด้วย เนื่องด้วยผมเห็นว่าประเด็นความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาที่มีแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้น และปัญหานี้จะส่งผลต่อการพัฒนาและนำมาซึ่งปัญหาในมิติอื่นๆ ทั้งเชิงสังคม เศรษฐกิจ การเมือง

Read More

ประเทศไทยกับสถานการณ์เปลี่ยนแปลงของโลกวันนี้

         เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2559 ผมได้มีโอกาสกล่าวสุนทรพจน์ (Key note Speech)เรื่อง “ประเทศไทยกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกวันนี้” ในพิธีมอบโล่เกียรติยศแด่บุคคลดีเด่นในด้านการส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประเทศประจำปี 2559 โดยผมได้วิเคราะห์และนำเสนอแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก

Read More

แนวโน้มภัยคุกคามของการก่อการร้ายโลก

     ตลอดปี 2559 มีเหตุการณ์ความรุนแรงและการก่อการร้ายที่สร้างความเสียหายรุนแรงเกิดขึ้นหลายเหตุการณ์ ล่าสุดคือ การก่อการร้ายในบริเวณใกล้เคียงกับสนามกีฬาเมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2559 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 29 ราย และผู้ได้รับบาดเจ็บ 166 คน ซึ่งผมขอแสดงความเสียใจมา ณ ที่นี้

Read More

การสร้างวัฒนธรรมที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างนวัตกรรม

จากบทความตอนที่แล้ว ผมได้นำเสนอข้อเสนอแนะในการใช้ทุนทางวัฒนธรรมเพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนไปสู่ประเทศไทย 4.0 ภายใต้ประเด็นหลักที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าและบริการโดยทุนวัฒนธรรมไปแล้ว ในบทความตอนนี้จะเป็นการให้ข้อเสนอแนะในมิติการสร้างนวัตกรรมที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างนวัตกรรม

Read More

การใช้ทุนทางวัฒนธรรมเป็นพลังขับเคลื่อนไปสู่ประเทศไทย?4.0

จากบทความตอนที่แล้ว ผมได้แสดงมุมมองต่อแนวคิดประเทศไทย 4.0 และกล่าวถึงความเกี่ยวข้องระหว่างทุนวัฒนธรรมกับการเป็นประเทศไทย 4.0 ซึ่งผมมองว่าทุนวัฒนธรรมเป็นเหมือนกิจกรรมต้นน้ำ (Upstream)ในห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

Read More

ประเทศไทย 4.0 กับทุนทางวัฒนธรรม

รัฐบาลพยายามผลักดันนโยบายประเทศไทย 4.0 หรือไทยแลนด์ 4.0 กล่าวคือ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี เป็นการเน้นภาคบริการ แทนภาคอุตสาหกรรม เป็นเศรษฐกิจฐานความรู้ที่สร้างความมั่งคั่งผ่านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์

Read More