‘4 เร่ง’ ข้อเสนอการเพิ่มประสิทธิผลภาครัฐ

ผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนเรื่องประสิทธิผลภาครัฐ ประจำไตรมาสที่ 2 ในภาพรวม คือประชาชนให้คะแนนภาครัฐที่ร้อยละ 57.73 ขยับขึ้นจากไตรมาสที่แล้วที่ได้คะแนนร้อยละ 52.15 ซึ่งผมได้วิเคราะห์ถึงปัจจัยที่ทำให้ดัชนีประสิทธิผลภาครัฐมีคะแนนเพิ่มขึ้นจากไตรมาส 1 มากที่สุดสามอันดับ ดังนี้

Read More

ความสัมพันธ์กับมหาอำนาจของ ASEAN

แนวโน้มโลกในอนาคตจะเกิดเศรษฐกิจหลายขั้วอำนาจมากขึ้น เพราะขั้วมหาอำนาจเดิมกำลังถดถอย ขณะที่เศรษฐกิจเกิดใหม่ ที่มีขนาดใหญ่มีศักยภาพในการขึ้นมาเป็นมหาอำนาจใหม่ ส่งผลให้เกิดการแข่งขันมากขึ้น

Read More

ประสานพลังรัฐ-เอกชน-ประชาชน: ดัชนีประสิทธิผลไทยไตรมาส1/2559

เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2559 ผมได้แถลงสรุปผลดัชนีประสิทธิผลประเทศไทย (Thailand Effectiveness Index – TE Index) ประจำไตรมาสที่ 1 ณ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อเปรียบเทียบดัชนีประสิทธิผลภาครัฐ (Public Sector Effectiveness Index: PBE Index) ดัชนีประสิทธิผลภาคเอกชน (Private Sector Effectiveness Index: PVE Index) และดัชนีประสิทธิผลภาคประชาชน (People Sector Effectiveness Index: PPE Index)

Read More

ภาคประชาชนอ่อนแอ แต่ได้รับความเชื่อมั่นสูง

เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผมในฐานะประธานปัญญาสมาพันธ์ ได้แถลงผลการสำรวจดัชนีประสิทธิผลภาคประชาชน (People Sector Effectiveness Index – PPE Index) ซึ่งเป็นการแถลงผลครั้งที่ 3 โดยการแถลงผล 2 ครั้งที่ผ่านมา เป็นการรายงานผลดัชนีประสิทธิผลภาครัฐ (Public Sector Effectiveness Index – PBE Index) และดัชนีประสิทธิผลภาคเอกชน (Private Sector Effectiveness Index – PVE Index)

Read More

ดัชนีประสิทธิผลของปัญญาสมาพันธ์ กับนวัตกรรมไทยบนบริบทโลก

ในบทความครั้งที่แล้ว ผมได้เขียนถึงผลการสำรวจในภาพรวมของประสิทธิผลภาคเอกชน (Private Sector Effectiveness: PVE) ที่เป็นตัวชี้วัดด้านหนึ่งภายใต้ดัชนีประสิทธิผลประเทศไทย หรือ Thailand Effectiveness Index (TE Index)

Read More

?โมเดลสมรรถนะ KSL31220? เตรียมแรงงานไทยสู่ประเทศรายได้สูง

เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2559 ผมได้มีโอกาสบรรยายเรื่อง “ยุทธศาสตร์แรงงานไทยเพื่อประเทศไทยมีรายได้สูง” ในการสัมมนาโครงการสร้างเครือข่ายการแนะแนวอาชีพ ที่จัดโดยกองส่งเสริมการมีงานทำ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน โดยมองถึงภาพรวมปัญหาแรงงานไทย ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงาน รวมทั้งการเตรียมพร้อมแรงานไทยเพื่อก้าวไปสู่การเป็นประเทศรายได้สูง

Read More

ดัชนีประสิทธิผลประเทศไทย เพื่อการพัฒนาและขับเคลื่อนธุรกิจ

     เมื่อต้นปีที่ผ่านมา ผมในฐานะประธานสภาปัญญาสมาพันธ์ได้เผยผลสำรวจความเห็นของประชาชนและผู้เชี่ยวชาญ เพื่อจัดทำดัชนีประสิทธิผลประเทศไทย เป็นครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นผลสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลของภาคเอกชน (Private Sector Effectiveness: PVE) เป็นตัวชี้วัดด้านหนึ่งภายใต้ดัชนีประสิทธิผลประเทศไทย หรือ Thailand Effectiveness Index (TE Index) ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้วัด 3 ด้าน คือประสิทธิผลภาครัฐประสิทธิผลภาคเอกชน และประสิทธิผลภาคประชาชน

Read More

ดัชนีประสิทธิผลภาครัฐ ก้าวแรกสู่ระบบขับเคลื่อนประเทศไทย

เมื่อสัปดาห์ก่อน ผมในฐานะประธาน “สภาปัญญาสมาพันธ์” ได้จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวสภาปัญญาสมาพันธ์ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ผมและเพื่อนนักวิชาการชั้นนำของประเทศได้รวมตัวกัน เพื่อให้เป็นศูนย์รวมของผู้ทรงคุณวุฒิในหลากหลายแขนงวิชาที่มาร่วมกันศึกษา ค้นคว้า วิจัย ในเรื่องหรือประเด็นสำคัญที่มีผลกระทบต่ออนาคตของประเทศ เพื่อช่วยนำเสนอแนวคิดและกำหนดทิศทางพัฒนาประเทศอย่างมียุทธศาสตร์ที่คมชัด และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายของประเทศอย่างแท้จริง
งานสำคัญชิ้นแรกของสภาปัญญาสมาพันธ์ คือ การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เพื่อจัดทำ “ดัชนีประสิทธิผลประเทศไทย (Thailand Effectiveness Index – TE Index)” หรือ ตัวชี้วัดความเข้มแข็งของ 3 ภาคส่วนที่มีความสำคัญมากต่อการขับเคลื่อนประเทศ ได้แก่ (1) ภาครัฐ (public sector) เช่น สถาบันการเมือง รัฐสภา

Read More

AEC ทำให้การพัฒนาประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร? (5)

ในบทความที่ผ่านมา ผมได้กล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาประเทศไทยอันเนื่องจากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในหลายมิติ บทความนี้จะนำเสนอการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาประเทศไทยใน 2 ประเด็นสุดท้าย ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านความเสี่ยงและเสถียรภาพ และการเปลี่ยนแปลงความเป็นอิสระของการกำหนดนโยบายภาครัฐ

Read More

AEC ทำให้การพัฒนาประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร? (4)

หลังจากที่ผมได้นำเสนอการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาประเทศไทยซึ่งเป็นผลจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) มาแล้ว 5 ประเด็น พบว่า ประเทศไทยจะต้องเตรียมความพร้อมและพัฒนาประเทศด้วยมุมมองและในทิศทางที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถให้โดดเด่นท่ามกลางนานาประเทศ ร่วมขับเคลื่อนให้เกิดการสร้างความไว้วางใจระหว่างประเทศอาเซียนด้วยกัน รวมถึงมียุทธศาสตร์ในการวางตัวอย่างเหมาะสมกับประเทศมหาอำนาจต่าง ๆ เพื่อมีช่องทางและโอกาสในการพัฒนาและสร้างประโยชน์ให้กับประเทศอย่างสอดคล้องกับทิศทางของโลก

Read More