อย่าให้เชื้อ อคติ ร้ายกว่าเชื้อ โควิด

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ประธานสถาบันการสร้างชาติ (NBI)
ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา (IFD)
kriengsak@kriengsak.com, www.drdancando.com
www.facebook.com/drdancando


สหรัฐอเมริกาในขณะนี้ นอกจากต้องรับมือกับการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่มีผู้ติดเชื้อสูงเป็นอันดับหนึ่งของโลกแล้ว  ยังต้องรับมือกับการประท้วงที่กำลังบานปลาย กลายเป็นความรุนแรงในหลายพื้นที่ จากชนวนเหตุตำรวจผิวขาวจับกุมชายผิวสีด้วยการเอาเข่ากดคอไว้ จนเสียชีวิต แม้เขาจะร้องขอชีวิตแล้วก็ตาม สร้างความโกรธแค้น จุดไฟความเกลียดชังจากอคติสีผิวที่ฝังลึกให้ลุกโชนขึ้นมาอีกครั้ง

Read More

ประเทศไทยควรเข้าร่วม CPTPP หรือไม่?

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (ดร.แดน)
นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ประธานสถาบันการสร้างชาติ (NBI)

ในขณะที่ประเทศไทยกำลังเผชิญปัญหาวิกฤติการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 อยู่เวลานี้ รัฐบาลต้องตัดสินใจว่าจะบริหารจัดการเศรษฐกิจ สังคม การเมืองอย่างไร เพื่อให้เกิดผลกระทบทางลบน้อยที่สุด ยังมีอีกประเด็นหนึ่งที่รัฐบาลกำลังต้องเผชิญการตัดสินใจครั้งสำคัญ นั่นคือ ประเทศไทยควรจะเข้าร่วมเป็นสมาชิก CPTPP หรือ Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership (ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก) หรือไม่

Read More

การประกอบการเพื่อสร้างชาติ (Nation-Building Entrepreneurship)

แนวคิดเรื่องการประกอบการ (Entrepreneurship) หรือ ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ คนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนที่มีบทบาทสำคัญในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจาก เป็นผู้ที่ใช้ทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การคาดการณ์ความต้องการของตลาดและทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ขึ้นในระบบเศรษฐกิจ ทำให้เศรษฐกิจมีการพัฒนาก้าวหน้า ซึ่งผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จก็จะได้รับรางวัลเป็นกำไรทางธุรกิจ ขณะที่ผู้ประกอบการที่ล้มเหลวก็จะขาดทุนและหายไปจากระบบในที่สุด Read More

ทิศทางภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจในยุค 5.0

เมื่อไม่นานนี้ ผมได้รับเชิญไปบรรยายเรื่อง “ทิศทางและความท้าทายของภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ เพื่อก้าวสู่ประเทศไทย 5.0” ในงานประชุมวิชาการระดับชาติภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ครั้งที่ 7 ซึ่งจัดโดย วิทยาลัยพาณิชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำถามที่เกิดขึ้นจากหัวข้อการบรรยาย คือ ประเทศไทย 5.0 คืออะไร ในเมื่อทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย กำลังมุ่งไปสู่ยุค 4.0 เท่านั้น Read More

FABAI Model: เทคนิคการคิดและตัดสินใจ

การตัดสินใจ เป็นหนึ่งในทักษะสำคัญที่ต้องพัฒนาฝึกฝนให้ถูกต้องและแม่นยำ เพราะมนุษย์ต้องทำการตัดสินใจอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ตั้งแต่เรื่องเล็กที่สุดอย่างการตัดสินใจว่าจะรับประทานอะไรจนถึงเรื่องใหญ่ที่สุด เช่น การบริหารองค์กร หรือบริหารประเทศ Read More

สาเหตุของการจลาจลในประเทศพัฒนาแล้ว : ความไม่เท่าเทียม หรือ ความไม่เป็นธรรม

ปี 2562 นับเป็นปีที่มีการประท้วงในหลายประเทศทั่วโลก เช่น เลบานอน เอกวาดอร์ สเปน ชิลี ฮ่องกง ฝรั่งเศส โบลิเวีย แอลจีเรีย ซูดาน เฮติ นิคารากัว เป็นต้น เหตุการณ์ประท้วงในหลายประเทศสามารถอธิบายสาเหตุได้ไม่ยากนัก โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา ที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองหมักหมมมาเป็นเวลายาวนาน ไม่ว่าจะเป็นความยากจน ความเหลื่อมล้ำ บริการสาธารณะด้อยคุณภาพ การคอร์รัปชั่น การขาดธรรมาภิบาล Read More

กรุงเทพฯ: น้ำจะท่วม…ต้องเตรียมตัวอย่างไร

แต่กรุงเทพฯ จะต้องเผชิญความท้าทายด้านปัญหาน้ำท่วมที่รุนแรงมากขึ้นในอนาคต เพราะเมื่อไม่นานมานี้ Climate Central องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรด้านสิ่งแวดล้อมในรัฐนิวเจอร์ซีย์ของสหรัฐฯ ได้เปิดเผยผลการวิจัยฉบับใหม่ที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร Nature Communications โดยระบุว่า ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ซึ่งทำให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นนั้น จะทำให้หลายเมืองโดยเฉพาะเมืองใกล้พื้นที่ชายฝั่งในแถบอาเซียนและประเทศใกล้เคียง มีความเสี่ยงถูกน้ำทะเลท่วม

Read More

ความร่วมมือรัฐกิจ ธุรกิจ ประชากิจ เพื่อพัฒนาไปสู่ประเทศรายได้สูง

วันที่ 26-27 พฤศจิกายนที่จะถึงนี้ สถาบันการสร้างชาติ (NBI) ร่วมกับสถาบันการสร้างชาติ มาเลเซีย และสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา (IFD) จัดการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ International Conference on Nation-Building 2019 ซึ่งเป็นการประชุมครั้งที่ 3 และเป็นครั้งแรกที่จะจัดงานในประเทศมาเลเซีย หัวข้อการประชุมในปีนี้ คือ “Connecting Government, Business and Civil Society towards the Development of a High Income Nation” Read More

ทำไมต้องมีสถาบันการสร้างชาติ (Nation-Building Institute – NBI)

ท่านอาจเคยได้ยินมาว่า นับตั้งแต่ปี 1991 ประเทศญี่ปุ่นตกอยู่ในหลายทศวรรษที่หายไป (lost decades) ทำให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นชะงักงันเป็นเวลายาวนาน และเพิ่งจะผงกหัวขึ้นมาได้บ้างเมื่อไม่กี่ปีมานี้ แต่ผมจะแจ้งข่าวร้ายแก่ท่านว่า ประเทศไทยก็อยู่ใน lost decades เช่นกัน และอยู่มานานหลายทศวรรษ Read More

วิเคราะห์ 3 โมเดลเศรษฐกิจ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต

จากการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของโลกสมัยใหม่ รูปแบบและแนวทางการดำเนินการทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองกับปัญหาและสถานการณ์เศรษฐกิจของโลกที่แปรเปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเวลา

หากพิจารณาในแง่ผู้เล่นที่มีบทบาทนำในระบบเศรษฐกิจ นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงปัจจุบัน โลกเกิดการฟื้นคืนของโมเดลเศรษฐกิจ 2 โมเดลหลัก แต่ผมคาดการณ์และขอเสนอโมเดลใหม่ว่า อีกหนึ่งโมเดลกำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต Read More