ผมเคยนำเสนอความคิดเกี่ยวกับโมเดล 8C กับการบูรณาการศาสตร์ หรือ Discipline ต่างๆเอาไว้ในหลายเวที อันเป็นลักษณะสำคัญประการหนึ่งของมหาศุภลัย (Integration : Araya University) ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นด้านการบูรณาการสู่การสร้างผู้เรียน เป็นลักษณะมหาวิทยาลัยยุคสุดท้ายตามการแบ่งมหาวิทยาลัยออกเป็น 7 ยุคของผม[1] เช่น ภาคกิจบูรณาการสร้างผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะกว้างครบถ้วนสามารถประยุกต์สู่รัฐกิจ ธุรกิจ และประชากิจ (ประชาสังคม) ตามที่ผมเคยนำเสนอเอาไว้ในหลายเวทีและเคยเขียนเป็นบทความ (more…)
Author: admin

วิจัยแก้ปัญหาระดับชาติ : กรณีฮาร์วาร์ดทำวิจัยแก้ปัญญาสุขภาพในอินเดีย
ผมเคยนำเสนอความคิดเอาไว้เกี่ยวกับบทบาทของการวิจัยในฐานะเป็นเครื่องมือการแก้ปัญหาระดับชาติ โดยเสนอให้คณาจารย์และนักศึกษาเน้นทำวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ของประเทศ เร่งสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีสมรรถนะทางด้านการวิจัยสร้างนวัตกรรม ผลักดันให้เกิดวัฒนธรรมการวิจัยทุกระดับสำหรับเตรียมกำลังคนทางด้านการวิจัยของประเทศ (more…)

CCS นวัตกรรมศาสตร์สร้างชาติ : กรณีฮาร์วาร์ด
ผมเคยนำเสนอความคิด สถาบันการสร้างชาติ (Nation-Building Institute) ที่ผมเป็นประธานอยู่ ณ ปัจจุบัน (ปัจจุบันกำลังเปิดการเรียนการสอนมาถึงรุ่นที่ 4) เอาไว้ในหลายเวที โดยสถาบันการสร้างชาติดังกล่าวนี้มีเป้าหมายต้องการให้เป็นแหล่งสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางด้านการสร้างชาติที่เหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละบุคคล สนับสนุนการพัฒนาประเทศให้ก้าวสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วต่อไปในอนาคต (more…)

Tiger King Innovation : ตัวอย่างวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ฮาร์วาร์ด
ผมเคยนำเสนอความคิดโมเดลนวัตกรรม 5 ระดับ (Five Stages Innovation Model)[1] เอาไว้ด้วยต้องการให้เป็นกรอบคิดการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนประเทศเข้าสู่ยุคประเทศไทย 4.0 อันจะเป็นประโยชน์สร้างให้เกิดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม อันเป็นฐานรากของการพัฒนาประเทศ โดยโมเดลนวัตกรรม 5 ระดับของผมดังกล่าวนี้ ประกอบด้วย (more…)

การพัฒนานวัตกรรมที่สร้างผลกระทบ (Impact Innovation)
เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 ผมได้รับเชิญไปบรรยายในการประชุมวิชาการด้านการบริหารธุรกิจระดับชาติและนานาชาติ ปี 2560 (Business Administration National and International Conferences 2017) ซึ่งจัดโดยคณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี ภายใต้หัวข้อ ‘ผลกระทบของนวัตกรรมต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจโลก’ ผมจึงขอแบ่งปันถึงสิ่งที่ได้นำเสนอในงานประชุมครั้งนี้
เป็นที่ทราบกันดีว่า ความจำเป็นของนวัตกรรมต่อการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโลกในอนาคตมีมากมายหลายประการ โดยเฉพาะการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการสร้างความแตกต่างหรืออัตลักษณ์ของสินค้าและบริการ เพราะยุคนี้เป็นยุคแห่งนวัตกรรม (more…)