การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในยุคหลังโควิด (ตอนที่ 2): ข้อเสนอแนะในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

สาเหตุความล้มเหลวในการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน โดยรวมแล้วเกิดจากการแนวทางการพัฒนาที่ขัดแย้งกับหลักการทางเศรษฐศาสตร์ เช่น ขาดความประหยัดจากขนาด ขาดความหลากหลายของกิจกรรมเศรษฐกิจ ขาดการต่อยอดบนฐานความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ รวมทั้งขาดบูรณาการในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เป็นต้น
. Read More

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในยุคหลังโควิด (1): ข้อจำกัดในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจของประเทศ ส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากความเข้มแข็งของหน่วยธุรกิจในระดับต่าง ๆ ดังนั้นการสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการในระดับท้องถิ่น เพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เจริญก้าวหน้าจึงจำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
. Read More

แนวโน้มของอิทธิพลอเมริกาในประเทศไทย

สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่ไม่ได้มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน เมื่อเทียบกับประเทศอย่างอังกฤษ หรือ จีน แต่อเมริกามีอิทธิพลต่อโลกอย่างมากและขึ้นมาเป็นหนึ่งในมหาอำนาจ ในช่วงเวลา 246 ปีนับตั้งแต่มีการก่อตั้งประเทศ
.

Read More

มหาวิทยาลัยไทยจะเป็นอย่างไร หลังพ้นวิกฤตไวรัสโควิดระบาด

ขอเสนอแนวทางการปรับตัวของ มหาวิทยาลัย ที่เผชิญความท้าทายหลายประการ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยาวนาน บางอย่างเป็นความท้าทายใหม่ที่ต้องปรับตัวให้พร้อมรับมือสำหรับอนาคต ที่ต้องไม่ลืมพื้นฐานการเป็นแหล่งบ่มเพาะอารยธรรมสนับสนุนการพัฒนาประเทศ
. Read More

การส่งเสริมความร่วมมือไทย-อินเดียเพื่อการสร้างชาติ

อินเดียเป็นประเทศหนึ่งที่มีความน่าสนใจ ผมมีโอกาสเดินทางไปเยือนประเทศอินเดียหลายสิบครั้ง ทั้งจากการได้รับเชิญไปบรรยาย และด้วยความสนใจอินเดียในฐานะที่เป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศในโลกที่มีอารยธรรมเก่าแก่รุ่งเรืองยืนยาวมาจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางเศรษฐกิจและสังคมสูง หากใครได้ไปเยือนอินเดียจึงมักเห็นทั้งการทำเกษตรกรรมแบบโบราณ ไปจนถึงการทำเกษตรกรรมสมัยใหม่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน นอกจากนั้นอินเดียยังเป็นผู้นำอุตสาหกรรมอันดับต้น ๆ ของโลกทั้งการผลิตสินค้าหัตถกรรม เครื่องประดับโบราณ ไปจนถึงการเป็นแหล่งผลิตซอฟท์แวร์และอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
Read More

บทบาทของไทยและอาเซียนต่อการรวมเกาหลีให้เป็นหนึ่งเดียว

ผลจากสงครามเย็น ทำให้สหรัฐฯ เข้ามาควบคุมตอนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี โดยทางตอนเหนืออยู่ภายใต้การควบคุมของโซเวียต ซึ่งท้ายสุดแล้ว นำไปสู่การแยกประเทศเป็นเกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้ เมื่อ พ.ศ. 2491
Read More

สุขสภาพจากการสัมผัส-โอบกอด (Touch-Hug Wellness)

การสัมผัส ซึ่งรวมถึงการสัมผัสตัว การจับมือ จูบ การโอบกอด ดูเหมือนเป็นเพียงการแสดงออกของความรัก ความเป็นมิตร และความสัมพันธ์ที่ดี แต่การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ พบว่า การสัมผัสส่งผลไม่เพียงแต่ก่อให้เกิดความสุข แต่ยังทำให้สุขภาพดี ซึ่งอาจทำให้มีชีวิตยืนยาวในที่สุด (Field, 2011)

การสัมผัสเป็นกิจกรรมที่สามารถสื่อสารอารมณ์ไปยังผู้ที่ถูกสัมผัสได้ การทดลองที่ออกแบบให้อาสาสมัครได้รับการสัมผัส โดยมองไม่เห็นผู้ที่มาสัมผัสและการสัมผัสนั้น แล้วให้อาสาสมัครทายอารมณ์ของอีกฝ่ายหนึ่ง พบว่า กลุ่มคนที่เข้าทำการทดลองมากกว่าครึ่งหนึ่งสามารถทายอารมณ์ของอีกฝ่ายหนึ่งได้อย่างถูกต้อง (Hertenstein et al., 2006 & 2009) การสัมผัสจึงเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกไปยังผู้ถูกสัมผัส

Read More

แรงงานไทยสู่สมรรถนะแรงงานโลกยุคดิจิทัล

ประเทศไทยมีปัญหาขาดแคลนแรงงานที่มีสมรรถนะเหมาะสมในโลกยุคดิจิทัล จากการสำรวจผู้ประกอบการ พบว่า ไทยขาดแคลนแรงงานที่มีตามที่ต้องการมากที่สุดในอาเซียน นอกจากนี้ยังพบว่า ไทยมีสัดส่วนการใช้แรงงานไร้ฝีมือในอุตสาหกรรมสูงสุดในอาเซียน รองลงมาเป็นมาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม
. Read More

อุตสาหกรรมใดเป็นจุดแกร่งประเทศไทย

รัฐบาลไทยมีความพยายามกำหนดอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของประเทศมาโดยตลอด ตัวอย่างที่ชัดเจนคือ ในช่วงปี พ.ศ. 2546 รัฐบาลในเวลานั้นได้เชิญศาสตราจารย์ ไมเคิล ยูจีน พอร์เตอร์ นักวิชาการด้านบริหารธุรกิจชื่อดังแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มาเป็นที่ปรึกษาใน “โครงการศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถ ด้านการแข่งขันของประเทศไทย”
.

Read More

นวัตกรรมยุทธศาสตร์ภาคประชาชนเพื่อการสร้างชาติ

ภาคประชากิจเป็นภาคส่วนที่มีบทบาทสำคัญมากต่อสังคมสมัยใหม่ทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ไม่ว่าจะในบทบาทการเป็นผู้ตรวจสอบ/เฝ้าระวัง (Watchdog) การเป็นผู้ให้การรณรงค์ สนับสนุน/ช่วยเหลือ (Advocate) เป็นผู้เชี่ยวชาญ (Expert) คือ เป็น Think Tank ซึ่งขาดไม่ได้ในสังคมที่พัฒนาแล้ว และเป็นผู้ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม (Citizenship champion) เป็นต้น

Read More